พรรณไม้ท้องถิ่น
รูป |
ชื่อพรรณไม้ |
ชื่อสามัญ |
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
วงศ์ |
![]() |
สารภีทะเล | กระทิง กากะทิง (ภาคกลาง), ทิง (กระบี่), เนาวกาน (น่าน), สารภีทะเล (ประจวบคีรีขันธ์), สารภีแนน (ภาคเหนือ) | Calophyllum inophyllum L. | GUTTIFERAE |
![]() |
สิรินธรวัลลี | สิรินธรวัลลี (ภาคกลาง และทั่วไป) สามสิบสองประดง, ประดงแดง (ภาคอีสาน) | Bauhinia sirindhorniae | FABACEAE |
![]() |
สีเสียดแก่น | สะเจ (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน), สีเสียด (ภาคเหนือ), สีเสียดแก่น (ราชบุรี) สีเสียดเหนือ (ภาคกลาง) สีเสียดแก่นเหนือ สีเสียดเหลือง (เชียงใหม่) | Acacia catechu Willd. | LEGUMINOSAE |
![]() |
สุพรรณิการ์ | ฝ้ายคำ (ภาคเหนือ), สุพรรณิการ์ (ภาคกลาง) | Cochlospermum religiosum Alston | COCHLOSPERMACEAE |
![]() |
หมัน | หมัน (ประจวบคีรีขันธ์) | Cordia cochinchinensis Gagnepain | BORAGINACEAE |
![]() |
หว้า | หว้า หว้าป่า หว้าขาว หว้าขี้นก หว้าขี้แพ | Syzygium cumini (Linn.) Skeets | MYRTACEAE |
![]() |
หว้าหิน | ทอะอุซอ (มลายู สงขลา) มะห้า (เชียงราย) เลือด หว้าขี้กวาง (สตูล สงขลา) | Syzygium claviflorum (Roxb.) A.M.Cowan & Cowan | MYRTACEAE |
![]() |
หัน,เลือดแรด | กระเบาเลือด สมิงคำราม เหมือดคน (ภาคเหนือ), ตีนตัง มะเลือด (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), สีซวง (ภาคกลาง), กาฮั้น กระฮั้น ลาหัน เลือดม้า เลือดแรด หัน หันลัด (ภาคใต้), ชิงชอง (ภาคตะวันออกเฉียงใต้), ตูโมะยอ (มลายู-นราธิวาส), ฮ้วงจือ เป็นต้น | Knema globularia (Lam.) Warb. | MYRISTICACEAE |
![]() |
หูกวาง | โคน (นราธิวาส), ดัดมือ ตัดมือ (ตรัง), ตาปัง (พิษณุโลก, สตูล), ตาแปห์ (มลายู-นราธิวาส), หลุมปัง (สุราษฎร์ธานี), หูกวาง (ภาคกลาง) | Terminalia catappa Linn. | COMBRETACEAE |
![]() |
อบเชยไทย,เชียดใหญ่ | ขนุนมะแวง เชียกใหญ่ (ตรัง), จวงดง บริแวง (ระนอง), ฝนแสนห่า (นครศรีธรรมราช), สมุลแว้ง พะแว โมง หอม ระแวง (ชลบุรี), มหาปราบ (ตราด) มหาปราบตัวผู้ (จันทบุรี), แลงแวง (ปัตตานี), อบเชย (กรุงเทพฯ, อุตรดิตถ์) | Cinnamomum bdjolghota Sweet | LAURACEAE |
![]() |
อะร่าง นนทรีป่า | กว่าเซก (เขมร-กาญจนบุรี), คางรุ้ง คางฮ่ง (พิษณุโลก), จ๊าขาม ช้าขม (ลาว), ตาเซก (เขมร-บุรีรัมย์), นนทรีป่า (ภาคกลาง), ราง (ส่วย-สุรินทร์), ร้าง อะราง อะล้าง (นครราชสีมา), อินทรี (จันทบุรี) | Peltophorum dasyrachis Kurz, ex Baker | LEGUMINOSAE |
![]() |
อินทนิลน้ำ | ะแบกดำ (กรุงเทพ), ฉ่วงมู ฉ่องพนา (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี), บางอบะซา (นราธิวาส, มลายู-ยะลา), บาเย บาเอ (มลายู-ปัตตานี), อินทนิล (ภาคกลาง, ภาคใต้) เป็นต้น และยังเป็นพันธุ์ไม้ประจำจังหวัดระนองและจังหวัดสกลนครอีกด้วย | Lagerstroemia speciosa (L.) Pers. | LYTHRACEAE |
![]() |
เกด | ครินี ไรนี (ฮินดู), เกด (กลาง) ราชายตนะ | Manilkara hexandra (Roxb.) Dubard | SAPOTACEAE |
![]() |
เคี่ยม | เคี่ยม (ทั่วไป), เคี่ยมขาว เคี่ยมดำ เคี่ยมแดง (ภาคใต้) | Cotylelobium melanoxylon Pierre | DIPTEROCARPACEAE |
![]() |
เฉียงพร้านางแอ | เฉียงพร้านางแอ | Carallia brachiata (Lour.) Merr. | โกงกาง |

กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม
49 ถนนพระรามที่ 6 ซอย 30 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
เบอร์โทรศัพท์ : 02-298-5636
E-mail : green_area@dcce.mail.go.th
Copyright 2017 greenarea . All right reserved.